ReadyPlanet.com
dot dot
bulletติดต่อ-จองการฝึกอบรม
bulletติดต่อซื้อสินค้า
bulletแผนที่
dot
E-mail

dot
bulletสนามฝึกดับเพลิง บริษัท บีพีฯ
bullet Facebook BP
bulletตย.เอกสาร ILO-OSHMS-2001
bulletตย.เอกสาร มอก 18000
bulletมุม จป.
bulletข่าว วิทยากร/ครูฝึก




OSHMS-SP-02 การจัดทำเอกสารระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

 

 

AMARIN

PRINTING & PUBLISHING

 

ระเบียบปฏิบัติ

หมายเลขเอกสาร:

OSHMS-SP-02

ออกเอกสารเมื่อ:  01-01-55

เรื่อง : การจัดทำเอกสารระบบการจัดการ

               ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

แก้ไขครั้งที่ :   00

หน้า : 1/7

 

บันทึกการจัดทำ (ฉบับปัจจุบัน)

บุคคล

ชื่อ-สกุล

ตำแหน่ง

ลายเซ็น

วัน/เดือน/ปี

ผู้จัดทำ

 

 

 

 

ผู้ทบทวน

 

 

 

 

ผู้อนุมัติ

 

 

 

 

 ผู้ถือครองเอกสาร

ฝ่าย

 

ฝ่าย

 

ฝ่าย

 

ฝ่าย

 

ฝ่าย

 

ฝ่าย

 

ฝ่าย

 

ฝ่าย

 

 การแก้ไขเอกสาร

 

แก้ไขครั้งที่

เริ่มใช้งานวันที่

หน้าที่แก้ไข

รายละเอียดการแก้ไข

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. วัตถุประสงค์

เพื่อให้มั่นใจว่าเอกสารและบันทึกต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยได้รับการทบทวนและอนุมัติเพื่อนำไปปฎิบัติงานขององค์กร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

2. ขอบเขต

การจัดทำเอกสารในรูปแบบสื่อต่างๆ เพื่อขึ้นทะเบียน การบันทึก การจัดเก็บ การแจกจ่าย ยกลิก และการทำลายเอกสารที่เกี่ยวข้องในระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

 

3. เอกสารอ้างอิง

                ไม่มี

 

4. นิยาม

4.1          เอกสารควบคุม คือ เอกสารที่ใช้ในการปฎิบัติงานในระบบการจัดการซึ่งมีการควบคุมการแจกจ่ายทั้งรูปแบบของสิ่งพิมพ์ หรืออิเล็กทรอนิกส์ การเรียกคืนเมื่อมีการแก้ไขใหม่ซึ่งต้องควบคุมการสำเนาเพื่อให้ผู้รับผิดชอบทราบจำนวนสำเนาที่แน่นอนซึ่งจะช่วยให้มีการปรับปรุงทุกสำเนาให้เป็นปัจจุบันทันสมัยได้ทุกฉบับ

                4.2          เอกสารไม่ควบคุม คือ เอกสารที่แจกจ่ายแล้วไม่มีการตามไปเปลี่ยนให้ทันสมัยโดยมีวัตถุประสงค์

การใช้งานสำหรับการประชุม ปรึกษางาน หรือสำหรับลูกค้า

4.3          ระเบียบปฏิบัติงาน ( Standard Procedure = SP ) หมายถึง กระบวนการทำงานที่แสดงถึงขั้นตอนการทำงานที่เกี่ยบข้อง เชื่อมโยง สัมพันธ์กันกับหน่วยงานอื่นๆ

 

4.4          วิธีปฏิบัติงาน ( Work Instruction = WI ) หมายถึง ขั้นตอน / วิธีการทำงานที่แสดงรายละเอียดในการทำงานขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งซึ่งดำเนินการจนเสร็จโดยบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือหลายคนที่ทำงานเช่นเดียวกัน

4.5          OSHMR (Occupational Safety and Health Management  Representative ) หมายถึง ผู้จัดการส่วนอาชีวอนามัยและความปลอดภัย หรือผู้แทนนายจ้างระดับบริหาร

5. รายละเอียด

                5.1 การกำหนดเอกสาร

                   5.1.1 ประเภทเอกสาร                   คือ

                                               

MN         =             คู่มือระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

                                         SP          =             ระเบียบปฏิบัติงาน ( Standard  Procedure )

                                         WI          =             วิธีปฏิบัติงาน ( Work  Instruction – WI )

                                         FM         =             ฟอร์ม ( Form )

SD         =        เอกสารสนับสนุน ( Support  Document ) เอกสารอ้างอิง กฏหมาย ข้อบังคับภาครัฐ ประกาศ ข้อกำหนด กฏระเบียบ แผนงาน

 

5.1.2. หน่วยงานที่ถือครองเอกสาร เช่น

SA          =             ฝ่ายขาย                  ( sale  Department )

AD         =             ฝ่ายบริหาร            (Administrative Department )

PO          =             ฝ่ายผลิต                 (Production Department )

                                         PN          =             ฝ่าบบุคคล             (Personnel  Departinent )

                                          HS          =             ส่วนอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (    Health & Safety Section)

5.1.3.  การกำหนดรหัสตัวเลขเอกสาร ตัวที่ 1 และตัวที่ 2 แสดงลำดับเอกสารที่ประกาศใช้การกำหนดรหัสกำกับ           ระเบียบปฏิบัติ วิธีขั้นตอนปฏิบัติ แบบปอร์ม เอกสารอ้างอิง 

OSHMS -                   -                   

1.             รหัสตัวอักษร 5 ตัวแรก แทนระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

2.             รหัสตัวอักษรที่ 6-7 เป็นตัวอักษรแสดงประเภทเอกสาร

3.             รหัสตัวเลขที่ 1-2 แสดง ลำดับเอกสารที่ที่นำมาใช้ตามลำดับประเภทเอกสาร ตัวอย่าง

OSHMS-SP-01 หมายถึง เอกสารในระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

-                   ระเบียบปฏิบัติงาน – ลำดับที่ 1

   

5.1.4. สถานะเอกสารแสดง โดย Rev .และตามด้วยหมายเลขตั้งแต่ 00 หมายถึง สถานะการแก้ไขเอกสาร

                          (  Revision Number ) โดยให้เรียงลำดับหมายเลขไปตามจำนวนครั้งที่แก้ไข เช่น

                                00           =             เอกสารที่ยังไม่ได้แก้ไข / ประกาศใช้ครั้งแรก

                                01           =             ลำดับการแก้ไขเอกสารครั้งที่ 1

5.2.         การจัดทำเอกสารระบบการจัดการและรายละเอียดการควบคุม ดังนี้    

5.2.1      การควบคุมเอกสารจะควบคุมโดยการนำเอกสารต้นฉบับทุกเล่มมาขึ้นทะเบียนในบัญชีแม่บท

( OSHMS-FM-05 ) ซึ่งกำหนดเป็นหมายเลขเอกสาร OSHMS-SD-XX โดยแสดงสถานะวันที่เริ่มใช้งานและ     การอนุมัติให้ใช้

5.2.2      ผู้ควบคุมเอกสารนำเอกสารที่จัดทำเรียบร้อยแล้วมาขึ้นทะเบียนในใบบัญชีแม่บทต้นฉบับและส่งเอกสารให้ ผู้รับผิดชอบทบทวนและอนุมัติตามข้อ 5.2.5

5.2.3      เอกสารภายนอก เช่น มาตรฐานต่างๆ คู่มือต่างๆ ให้ผู้ควบคุมเอกสารนำเสนอตามข้อ 5.2.5

5.2.4      ผู้ควบคุมเอกสาร คือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลและควบคุมเอกสารในระบบการจัดการทั้งหมดหน่วยงานทำหน้าที่เป็นผู้ควบคุมเอกสารประจำหน่วยงาน

5.2.5      การพิจารณาทบทวนอนุมัติ

ระดับเอกสาร

ผู้จัดทำ

ผู้ทบทวน

ผู้อนุมัติ

คู่มือระบบการจัดการ

OSHMR

คณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยฯ

ประธานนคณะกรรมการความปลอดภัยฯ

ระเบียบปฏิบัติงาน

เจ้าหน้าที่

เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน

OSHMR

วิธีปฏิบัติงาน

เจ้าหน้าที่

หัวหน้างาน

OSHMR

แบบฟอร์ม

เจ้าหน้าที่

หัวหน้างาน

OSHMR

เอกสารสนับสนุน

เจ้าหน้าที่

เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน

OSHMR

 

 

 

 

 

 

 

 

 

5.2.6      ผู้ควบคุมเอกสาร ( ประจำฝ่าย ) นำเอกสารทั้งหมดมาลงทะเบียนไว้ที่ “ใบบัญชีแม่บท”

( OSHMS-FM-05 ) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงชนิด และชื่อของเอกสาร และลำดับการแก้ไขพร้อมทั้งผู้ถือครองเอกสารต้นฉบับไว้ที่ผู้ควบคุมเอกสารกลาง ยกเว้นเอกสารประเภท SD ให้จัดเก็บต้นฉบับควบคุมใว้ในแต่ละฝ่ายที่จำเป็นต้องใช้งานตามที่ระบุไว้ในทะเบียนแม่ทบ ( OSHMS-FM-01 )

5.2.7      ผู้ควบคุมเอกสาร (กลาง ) ผู้บันทึกประวัติการแก้ไขไว้ที่ “ ตารางการบันทึกการเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร”

               (OSHMS-FM- 07) จัดทำเสานำพร้อมเอกสารพร้อมประทับตรา “เอกสารควบคุม” ที่หน้าแรกแล้วใช้

“ใบแจกจ่ายเอกสาร” ( OSHMS-FM-06) ส่งไปยังผู้ถือครองเอกสารทุกคนที่กำหนดไว้โดยบันทึกการ แจกจ่ายไว้ที่ “ใบแจกจ่ายเอกสาร” (OSHMS-FM-06) และส่งคืนเอกสารฉบับเก่าคืนผู้ควบคุมเอกสาร

5.2.8      ผู้รับเอกสารต้องตรวจสอบและเซ็นชื่อรับชื่อเอกสารลงใน “ใบแจกจ่ายเอกสารลงใน”

(OSHMS-FM-06)

แล้วส่งคืนผู้ควบคุมเอกสาร ( กลาง ) กรณีที่มีเอกสาร (แก้ไข)ฉบับเดิมอยู่ในครอบครองให้ผู้ที่รับเอกสารฉบับเก่าคืนมาด้วย โดยผู้ควบคุมเอกสารกลางจะทำการบันทึกการรับคืนเอกสารฉบับเก่าไว้ใน “ใบแจกจ่ายเอกสาร” (OSHMS-FM-06)

5.2.9      การประทับตรา “เอกสารไม่ควบคุม” ใช้ในกรณีที่มีการร้องขอจากลูกค้าหรือฝ่ายต่างๆเพื่อใช้สำหรับอ้างอิง หรือเพื่อใช้สำหรับติดตามระบบการจัดการภายใน โดยการแจกเอกสารประเภทไม่ควบคุมต้องทำการบันทึกไว้ที่ “ใบขอเอกสาร” (OSHMS-FM-08) โดยได้รับอนุมัติจากผู้ควบคุมเอกสารกลาง

5.2.10. กรณีต้องการขอเอกสารเพิ่มเติม ขอถ่ายสำเนาหรือแก้ไขเอกสาร ผู้ขอจะต้องกรอก “ใบขอเอกสาร” (OSHMS-FM-08) ส่งให้หัวหน้าหน่วยงานอนุมัติ และส่งต่อให้ผู้ควบคุมเอกสารกลางเพื่อดำเนินการถ่ายสำเนาและแจกจ่ายให้ผู้ขอเอกสาร

                กรณีขอแก้ไขเอกสารให้ผู้ที่ต้องการขอแก้ไขเอกสารนำเข้าสู่การพิจารณาทบทวนตามข้อ 5.2.5 และเมื่อนำขึ้นทะเบียนโดยเจ้าหน้าที่ควบคุมเอกสาร (กลาง)จัดเก็บต้นฉบับเอกสารเดิม ไว้พร้อมประทับตรา “ยกเลิก”

                และเก็บแยกแฟ้มไว้ต่างหากจากเอกสารฉบับใหม่

5.2.11    ผู้ควบคุมเอกสาร (กลาง) เป็นผู้ที่บันทึกประวัติการแก้ไขลงบนหน้าปกเอกสารประเภทคู่มือระบบการจัดการระเบียบปฏิบิตงานและ ส่วนการบันทึกการแก้ไขแบบฟอร์มไม่มีการบันทึกที่ตัวแบบฟอร์ม และผู้ควบคุมเอกสารมีหน้าที่แก้ไขลำดับเอกาสารฉบับที่และไขครั้งที่ OSHMS-FM-XX Rev.00 ถ้ามีการแก้ไขครั้ง 1 จะเป็น OSHMS-FM-XX Rev.01 เป็นต้น

5.2.12    สำเนาเอกสารควบคุมจะต้องมีการจัดก็บอย่างเป็นระบบมีไว้ใช้ในแต่ละสถานที่ทำงาน

                (ของแต่ละฝ่ายที่เกี่ยวข้อง) ตามที่ระบุไว้ในบัญชีแม่บทโดยผู้ควบคุมเอกสารประจำหน่วยงานทำหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการตรวจดูว่าได้ใช้เอกสารที่ทันสมัย เพื่อให้มั่นใจว่า

                ณ จุดปฏิบัติงานต้องมีเฉพาะเอกสารฉบับล่าสุดซึ่งตรงกับบัญชีแม่บทโดยผู้ควบคุมเอกสารประจำหน่วยงงานทำหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการตรวจดูว่าได้ใช้เอกสารที่ทันสมัย เพื่อให้มั่นใจว่า ณ จุดปฎิบัติต้องมีเฉพาะเอกสารฉบับล่าสุดซึ่งตรงกับบัญชีแม่บท (OSHMS-FM-01)

5.2.13    ผู้ควบคุมเอกสารประจำหน่วยงาน มีหน้าที่แก้ไขใบบัญชีแม่บท (OSHMS-FM-01)

                ของฝ่ายตนให้ทันสมัย ตรงกับสภาพความเป็นจริงตลอดเวลา และส่งสำเนาเอกสารต้นฉบับที่แก้ไข

                พร้อมสำเนาในบัญชีแม่บท (OSHMS-FM-05) ที่เป็นปัจจุบันให้ผู้ควบคุมเอกสารกลาง

5.2.14    ห้ามนำเอกสารควบคุมไปคัดลอก ถ่ายสำเนา หรือดัดแปลงแก้ไขก่อนได้รับอนุญาต

                กรณีต้องการถ่ายเอกสารให้ดำเนินการตามข้อ 5.2.10

5.2.15    เมื่อเอกสารหมดอายุการใช้งานหรือถูกยกเลิก ผู้ควบคุมเอกสารจะเก็บต้นฉบับไว้ ส่วนเอกสารที่แจกจ่ายจะถูกเรียกคืนทันทีที่มีการแจกจ่ายฉบับไหม่แทนที่ฉบับยกเลิก โดยมีการเซ็นรับคืนด้วยในใบแจกจ่าย แล้วผู้ควบคุมนำมาทำลาย เช่น การขีด แล้วนำกลับไปใช้อีกหน้า หรือทำลายโดยวิธีอื่น ๆ ก็ได้

5.2.16    เอกสารประเภทแบบฟอร์ม จะควบคุมเฉพาะต้นฉบับที่ทันสมัยเท่านั้น โดยจะประทับตรา

“เอกสารควบคุม” ที่ด้านหลังต้นฉบับ หากมีการแก้ไขเนื้อหาใจความสำคัญไม่เปลี่ยน ให้อนุญาตใช้แบบ   ฟอร์มเดิมให้หมดก่อน แต่ถ้ามีการแก้ไขเนื้อหาใจความสำคัญในแบบฟอร์มก็ดำเนินการตามข้อ 5.2.15

 

5.3          การควบคุมบันทึก

                5.3.1      ผู้ควบคุมเอกสารดำเนินการลงทะเบียนไว้ในทะเบียนรายชื่อบันทึก ( OSHMS-FM-09)

                5.3.2      ดำเนินการจัดเก็บและดูแลรักษาบันทึก ดังนี้

                                5.3.2.1   จัดเรียงบันทึกภายในแฟ้มโดยการเรียงตาม วัน/เวลาเพื่อสะดวกในการจัดเก็บและค้นหา

                                5.3.2.2   แฟ้มเก็บบันทึก จะต้องมีรายละเอียดแสดงไว้บนสันแฟ้ม เพื่อสะดวกในการติดตามค้นหา

                                และจัดเก็บแฟ้มโดยระบุรายละเอียดดังนี้

(1)       หมายเลขของแฟ้มเก็ยบันทึก

(2)       ชื่อของบันทึกที่เก็บไว้ในแฟ้ม

(3)       เลขที่หรือรหัสของบันทึกที่จัดเรียงไว้ในแฟ้ม

5.3.2.3   บันทึกที่เป็นสื่ออิเลคทรอนิคส์ ให้สำรองข้อมูล ไว้ตามความเหมาะสมและจำเป็น และจัดเก็บไว้ในที่ที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการสูญหาย ชำรุด เสื่อมสภาพและความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากภาวะฉุกเฉิน

5.3.2.4   ผู้ควบคุมเอกสาร (ประจำหน่วยงาน) ดำเนินการทำลายบันทึกเมื่อหมดอายุการจัดเก็บบันทึกและให้ ขออนุมัติผู้มีอำนาจในการทำลายนั้น ๆ โดยบันทึกลงในใบทำลายบันทึก

(OSHMS-FM-10)

และประทับตรา “ยกเลิก” หรืออาจใช้เครื่องย่อยเอกสาร หรือฉีกทิ้ง หรือนำอีกหน้าหนึงมาใช้โดยให้   ขีดหน้าที่ใช้งานแล้ว สำหรับสื่ออิเลคทรอนิคส์ให้ “ลบ” ข้อมูลทิ้ง...........

 

6. การควบคุมบันทึก

 

มายเลขเอกสาร

ชื่อบันทึกคุณภาพ

การจัดเก็บ

การทำลาย

ระยะเวลา

สถานที่

วิธีการ

ผู้อนุมัติ

วิธีการ

OSHMS-FM-05

ชื่อบัญชีแม่บท

 

 

 

 

 

OSHMS-FM-06

ใบแจกจ่ายเอกสาร

 

 

 

 

 

OSHMS-FM-07

ตารางบันทึกการ

เปลี่ยนแปลงแก้ไข

เอกสาร

 

 

 

 

 

OSHMS-FM-08

ใขขอเอกสาร

 

 

 

 

 

OSHMS-FM-09

ใบทะเบียนรายชื่อบันทึก

 

 

 

 

 

OSHMS-FM-10

ใบขอทำลายบันทึก

 

 

 

 

 

 

 

 

x

 




ระบบ ILO-OSHMS-2001

OSHMS-SP-15 การป้องกันและแก้ไข
OSHMS-SP-14 การทบทวนการจัดการโดยฝ่ายบริหาร
OSHMS-SP-13 การตรวจสอบระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
OSHMS-SP-12 การสอบสวนอุบัติเหตุ อุบัติการณ์
OSHMS-SP-11 การเฝ้าระวังสภาพแวดล้อมในการทำงานและสุขภาพ
OSHMS-SP-10 การจ้างเหมา
OSHMS-SP-09 การจัดซื้อ จัดหา
OSHMS-SP-08 การป้องกันเตรียมความพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
OSHMS-SP-07 การประเมินความเสี่ยง
OSHMS-SP-06 วัตถุประสงค์ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
OSHMS-SP-05 การทบทวนเบื้องต้น
OSHMS-SP-04 การติดตามและการดำเนินการฯลฯ
OSHMS-SP-03 การสื่อสาร
OSHMS-SP-01 ความสามารถเฉพาะและการฝึกอบรม



Copyright © 2010 All Rights Reserved.